คำอธิบายรายวิชา กฎหมายกับสังคม กฎหมายกับการพัฒนาสังคม แนวคิดและกฎหมายสิทธิและเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ความเป็นพลเมือง แนวคิดและกฎหมายความมั่นคงของมนุษย์ นโยบายและกฎหมายส่งเสริมนวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ กรณีศึกษาประเด็นทางสังคมกับกฎหมาย |

Course Description Law and society; law and social development; concepts and laws on rights and liberties; human rights; citizenship; concepts and laws of human security; policy and laws for innovation promotion; intellectual property; cyber security; case studies of social and legal issues |
|

คำอธิบายรายวิชา มนุษย์กับสังคม ความหลากหลายของความเชื่อและกลุ่มชน เมืองและมหานคร ช่วงชั้นและชนชั้นทางสังคม บริโภคนิยม วัฒนธรรมย่อย เพศภาวะ โลกาภิวัตน์กับการย้ายถิ่นข้ามชาติ สังคมข่าวสารและเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก |

Course Description Man and society; diversity of beliefs and peoples; urban and city; stratification and social class; consumerism; sub-culture; gender; globalization and transnational migrant; information society and disruptive technologies |

คำอธิบายรายวิชา มนุษย์กับสังคม ความหลากหลายของความเชื่อและกลุ่มชน เมืองและมหานคร ช่วงชั้นและชนชั้นทางสังคม บริโภคนิยม วัฒนธรรมย่อย เพศภาวะ โลกาภิวัตน์กับการย้ายถิ่นข้ามชาติ สังคมข่าวสารและเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก |

Course Description Man and society; diversity of beliefs and peoples; urban and city; stratification and social class; consumerism; sub-culture; gender; globalization and transnational migrant; information society and disruptive technologies |

คำอธิบายรายวิชา รัฐชาติและการเกิดขึ้นของพรมแดน แนวคิดเกี่ยวกับพรมแดน ชายแดนและเส้นเขตแดน ชายแดนกับความหลากหลายทางชาติพันธุ์ คนข้ามแดน เศรษฐกิจและการค้าชายแดน การจัดการเมืองชายแดน พรมแดนในยุคโลกาภิวัตน์ ปรากฏการณ์ปัญหาชายแดน |

Course Description Nation state and emergence of border; concepts of border, boundaries and borderlines; boundaries and ethnic diversity; transborder people; economic and border trades; borderland management; border in globalization age; phenomena of border problem |
คำอธิบายรายวิชา ความหมายของงานและการจ้างงานในสังคมร่วมสมัย ความแปลกแยก งานในภาคอุตสาหกรรม แรงงานไร้ทักษะ การจ้างงานในยุคฟอร์ด แรงงานภาคเกษตร การจ้างงานยุคฟอร์ดใหม่ การว่างงาน การจ้างงานไม่เต็มเวลา งานที่ไม่มีค่าตอบแทน งานบ้าน งานอาสาสมัคร การเปลี่ยนรูปแบบของงานในยุคโลกาภิวัตน์ การคุ้มครองแรงงาน สิทธิแรงงาน สหภาพแรงงาน ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมกับแรงงาน |

Course Description Work and employment in contemporary societies; alienation; industrial work; unskilled labour; fordism; agricultural work; neo-fordism; unemployment; underemployment; unpaid work; domestic work; voluntary work; transformation of work in globalization; labour protection; labour rights; labour union; social movements and labour |
คำอธิบายรายวิชา แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาสังคม การเป็นผู้เปลี่ยนแปลงสังคม กิจการเพื่อสังคม นวัตกรรมทางสังคม การสร้างมูลค่าให้แก่สินค้า การสร้างนวัตกรรมโดยชุมชน การสร้างนวัตกรรมจากเครือข่ายความร่วมมือ การสร้างนวัตกรรมจากงานวิจัย นวัตกรรมทางสังคมจากการทำโครงงานกลุ่ม |

Course Description Basic concepts of social development; being an agent for social change; social enterprise; social innovation; adding value to products; innovation by community; innovation from networking; innovation from research; social innovation from project |
มนุษย์กับสังคม ความหลากหลายของความเชื่อและกลุ่มชน เมืองและมหานคร ช่วงชั้นและชนชั้นทางสังคม บริโภคนิยม วัฒนธรรมย่อย เพศภาวะ โลกาภิวัตน์กับการย้ายถิ่นข้ามชาติ สังคมข่าวสารและเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก
โครงสร้างประชากรกับสังคมผู้สูงอายุ แนวคิดและทฤษฎีด้านผู้สูงอายุ มายาคติเกี่ยวกับผู้สูงอายุ นโยบายและสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ การพัฒนาเศรษฐกิจกับสังคมผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุกับครอบครัวและชุมชน สุขภาวะกับสังคมผู้สูงอายุ บทบาทนักพัฒนาในการสนับสนุนผู้สูงอายุ
ระบบบริการการศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
|
|

คำอธิบายรายวิชา มนุษย์กับสังคม ความหลากหลายของความเชื่อและกลุ่มชน เมืองและมหานคร ช่วงชั้นและชนชั้นทางสังคม บริโภคนิยม วัฒนธรรมย่อย เพศภาวะ โลกาภิวัตน์กับการย้ายถิ่นข้ามชาติ สังคมข่าวสารและเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก |

Course Description Man and society; diversity of beliefs and peoples; urban and city; stratification and social class; consumerism; sub-culture; gender; globalization and transnational migrant; information society and disruptive technologies |

|

คำอธิบายรายวิชา หลักการ แนวคิดและทฤษฏียุติธรรมชุมชน ระบบความยุติธรรม ระบบความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ บทบาทและการมีส่วนร่วมของชุมชน บทบาทของรัฐและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารจัดการปัญหาของชุมชน |

Course Description Principles, concepts and theories of community justice; justice systems; restorative justice; community role and involvement in restorative justice; role of government and stakeholders in community’s problem solving |

พลวัตของสังคมและวัฒนธรรมไทย พหุลักษณะของสังคมไทย ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคมไทย ความเป็นพลเมืองในสังคมไทย ภาพรวมของสถาบันทางการเมืองไทยกับความเป็นพลเมือง พลเมืองไทยในบริบทสังคมโลก ภาพรวมกฎหมายพื้นฐาน ประเภทกฎหมายกับความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ๆ ภาพรวมของกระบวนการยุติธรรมทางแพ่งและพาณิชย์ คดีอาญาและคดีปกครอง กระบวนการยุติธรรมทางเลือก สาเหตุ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามหลักอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา
นโยบาย กฎหมายและแผนพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม รัฐกับการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบจากนโยบายการพัฒนาต่อสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมกับความเป็นธรรมทางสังคม สิ่งแวดล้อมกับธรรมาภิบาล สิทธิและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม บทบาทขององค์กรนอกภาครัฐและองค์กรระหว่างประเทศด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อม |
แนวคิด พัฒนาการ และความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมไทย ในประเด็น การเข้าสู่ทุนนิยม พัฒนาการประชาธิปไตย ลักษณะชาตินิยมของไทย อุดมการณ์และกลุ่มทางสังคมต่าง ๆ |
ธรรมชาติของความขัดแย้ง ชุมชนและความขัดแย้ง การวิเคราะห์ความขัดแย้ง การสื่อสารและการแก้ไขความขัดแย้ง การเจรจาต่อรองและการสร้างข้อตกลง การประเมินผล้ะกระทบด้านสันติภาพและความขัดแย้ง |
ความสำคัญของการสัมมนา แนวทางการสัมมนา การอภิปราย การวิเคราะห์ การนำเสนอประเด็นปัญหาสังคมและแนวทางการพัฒนา |
แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสังคมภาคเกษตรกรรม การปฏิวัติเขียว การพัฒนาชาติกับสังคมภาคเกษตร โลกาภิวัตน์ด้านการเกษตรและอาหาร เกษตรกรรมทางเลือก ความมั่นคงทางอาหาร อธิปไตยทางอาหาร ความปลอดภัยทางอาหาร ขบวนการเคลื่อนไหวเรื่องอาหารท้องถิ่น อาหารกับอัตลักษณ์ อาหารกับการบริโภค อาหารกับผู้ประกอบการทางสังคม อาหารกับนวัตกรรมทางสังคม |
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวทางการวิจัย ลักษณะของความเป็นจริงทางสังคม ประเภทของการวิจัย ลักษณะสำคัญของการวิจัย การเตรียมตัวทำงานภาคสนาม เทคนิคและวิธีการกำหนดปัญหาและเก็บรวบรวมข้อมูล |
การเข้าใจปัญหาสังคม กิจการเพื่อสังคม วิสาหกิจเพื่อชุมชน นวัตกรรมทางสังคม เศรษฐกิจเพื่อท้องถิ่น การเป็นผู้เปลี่ยนแปลงสังคม เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ความสำคัญของเครือข่ายความร่วมมือ |
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา บริโภคนิยมกับโลกาภิวัตน์ เพศสถานะ กฎหมาย สิทธิและหน้าที่พลเมือง ชาตินิยม การเมืองการปกครอง สังคมไทยและสังคมโลก |