คำอธิบายรายวิชา ความเป็นมาของชนชาติไทย อาณาจักรโบราณในประเทศไทยก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 20 พัฒนาการทางการเมืองเศรษฐกิจ สังคมและศิลปกรรมของอาณาจักรสุโขทัยและอาณาจักรอยุธยา |
Course Description Background of Thai people; ancient kingdoms in Thailand before the 20th century of the Buddhist Era; political, economic, social and artistic development of Sukhothai and Ayutthaya kingdoms |
คำอธิบายรายวิชา สถานภาพการศึกษาประวัติศาสตร์อีสาน ความสัมพันธ์ระหว่างอีสานกับพัฒนาการของบ้านเมืองในลุ่มน้ำโขง ความสัมพันธ์ระหว่างอีสานกับศูนย์กลางการปกครองสยามในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ เหตุการณ์สำคัญในอีสาน อีสานในช่วงการปฏิรูปมณฑลเทศาภิบาล อีสานในช่วงสงครามอินโดจีนและสงครามโลกครั้งที่ 2 อีสานในช่วงสงครามเวียดนาม อีสานร่วมสมัย |
Course Description Status of historical study of Isan; relationship between Isan and development of towns in the Mekong Basin; relationship between Isan and administrative center of Siam in Thonburi and Rattanakosin periods; major events in Isan; Isan during Tesapibal Counties reforms; Isan during Indochina War and World War II; Isan during Vietnam War; Contemporary Isan |
ลักษณะโดยทั่วไปของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และการเผยแผ่วัฒนธรรมอินเดียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลวัฒนธรรมจีนในเวียดนาม เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใน “ยุคคลาสสิก” เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใน“ยุคจารีต” การเข้ามาของวัฒนธรรมอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเข้ามาของชาวตะวันตกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16-18 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายหลังยุคอาณานิคม กำเนิดอาเซียนและพัฒนาการของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้อาเซียน |
Course Description General aspects of Southeast Asia; Indian culture’s influence on Southeast Asia and Indian cultural diffusion in Southeast Asia; Chinese culture’s influence on Vietnam; Southeast Asia in the “classical period”; Southeast Asia in the “traditional period”; coming of Islamic culture in Southeast Asia; coming of the Westerners in Southeast Asia in 16th-18th centuries; Southeast Asia in the 19th-20th centuries; Southeast Asia after the colonial period; The origin of ASEAN and the development of Southeast Asia under ASEAN |
คำอธิบายรายวิชา สถานภาพการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย ความเป็นมาของชนชาติไทย อาณาจักรโบราณในประเทศไทยก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 20 พัฒนาการทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของอาณาจักรสุโขทัยและอาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ การเปลี่ยนแปลงและความสืบเนื่องทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยมกับการปรับประเทศให้ทันสมัยสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 กับการสร้างชาติ วิกฤตการณ์เศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 บทบาทของรัฐบาลทหาร พ.ศ. 2475 -2500 ยุคของการพัฒนาประเทศ พ.ศ. 2500 -2540 ประเด็นศึกษาในประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย |
Course Description Knowledge state of Thai history; background of Thai people; ancient kingdoms in Thailand before the 20th century of the Buddhist Era; political, economic, and social development of Sukhothai and Ayutthaya kingdoms; Thai history of Thonburi period; establishment of Rattanakosin; political, economic, social change and development during early Rattanakosin period; expansion of Western imperialism and modernization of Thailand during reigns of King Rama IV and King Rama V; King Rama VI and nation building; economic crisis and Thai Revolution of 1932; role of military government, 1932-1950; age of development during 1957-1997; topics in contemporary Thai history |
เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกสมัยโบราณ ยุโรปสมัยกลาง โลกสมัยใหม่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชาติตะวันตกและภูมิภาค จักรวรรดินิยมตะวันตกและผลกระทบต่อประวัติศาสตร์โลก ความขัดแย้งครั้งสำคัญในโลก
ความหมาย ความเป็นมา วิธีการและแนวคิดในการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เครื่องมือในการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประเด็นศึกษาว่าด้วยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไทย ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและอิทธิพลของเชื้อชาติอื่น
ความหมายและพัฒนาการของวัฒนธรรมและสังคมไทย เครื่องมือการวิเคราะห์จากมรดกภูมิปัญญาของไทย หัวข้อที่อยู่ในความสนใจเกี่ยวกับทางเลือกของความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ภูมิหลังประวัติศาสตร์ของการท่องเที่ยวไทย ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมของภูมิภาคในประเทศไทย แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีในจังหวัดของประเทศไทย ประวัติศาสตร์ศิลปะในแหล่งโบราณคดีเพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยว |
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์กัมพูชาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เริ่มจากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยฟูนัน เจนละ อารยธรรมเขมร สงครามอินโดจีนจนถึงปัจจุบัน |
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตั้งแต่สมัยรัฐโบราณ สมัยรัฐจารีต จนถึงสมัยอาณานิคม ขบวนการชาตินิยม การต่อสู้เพื่อเอกราช ปัญหาสำคัญหลังได้รับเอกราช |
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ การเปลี่ยนแปลงและความสืบเนื่องทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยมกับการปรับประเทศให้ทันสมัยสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 กับ การสร้างชาติ วิกฤตการณ์เศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 บทบาทของรัฐบาลทหาร พ.ศ. 2475 -2500 ยุคของการพัฒนาประเทศ ทศวรรษ 2500 - 2510 ประเด็นศึกษาในประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย
ความหมาย ขอบเขต และสถานภาพการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย ภูมิศาสตร์กับเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย ความสำคัญของเมืองพระนครศรีอยุธยาในฐานะเมืองท่าการค้า พัฒนาการของการผลิตและการค้าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ผลกระทบของสนธิสัญญาเบอร์นีและสนธิสัญญาเบาริงต่อเศรษฐกิจไทย การปฏิรูปการคลังในสมัยรัชกาลที่ 5 วิกฤตการณ์เศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 เศรษฐกิจไทยช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย บทบาทของนายทุน แรงงาน และคนจีนในระบบเศรษฐกิจไทย
ความหมาย แนวคิดและทฤษฎีของการจัดการมรดกทางประวัติศาสตร์และมรดกทางโบราณคดี แหล่งมรดกโลก ภูมิทัศน์วัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรม พิพิธภัณฑสถานและหอจดหมายเหตุ
ความหมายและขอบเขต การกำเนิดระบบเครือจักรวรรดิและการสร้างอาณานิคม ความรุ่งเรืองและการล่มสลายของจักรวรรดิ อุดมการณ์ลัทธิอาณานิคม การปลดปล่อยอาณานิคม และการปรากฏของลัทธิอาณานิคมใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดจักรวรรดินิยมกับกระบวนการโลกาภิวัตน์ในเอเชียร่วมสมัย ผลกระทบทางด้านสังคมและวัฒนธรรมของกระแสโลกาภิวัตน์ในเอเชีย |
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ สภาพภูมิประเทศและทรัพยากรทางธรรมชาติของภาคอีสาน กลุ่มคนในภาคอีสาน สังคมและวัฒนธรรมของภาคอีสาน สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี สมัยอิทธิพลเขมรโบราณ สมัยล้านช้าง สมัยรัตนโกสินทร์ ภูมิปัญญาอีสานด้านการปกครอง เศรษฐกิจอีสาน ศาสนาและความเชื่อของผู้คนในภาคอีสาน ประเพณี 12 เดือน ศิลปกรรมภาคอีสานในสมัยต่าง ๆ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี สมัยอิทธิพลเขมรโบราณ สมัย ล้านช้าง สมัยรัตนโกสินทร์ ศิลปะการแสดงอีสาน ดนตรี หมอลำ นาฏศิลป์ ผ้าและสิ่งถักทอในอีสาน การเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน
Geography, topography and natural resources of I-san; peoples of I-san; I-san society and culture in prehistoric times, Dvaravati period, ancient Khmer’s influence period, in LanXang and Rattanakosin periods; I-san administrative wisdom; I-san economy; I-san religions and beliefs; twelve-month rite tradition; I-san art in prehistoric times, Dvaravati period, ancient Khmer’s influence, LanXang and Rattanakosin periods; performing arts of I-san, music, dance, Morlam; textile of I-san; I-san social and cultural changes
ภูมิศาสตร์กับการค้า เทคโนโลยีการเดินเรือ การค้าภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การค้าทางบกและการค้าทางทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ยุคโบราณถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผลกระทบของการค้าในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม |
ความเป็นมาของชนชาติไทย อาณาจักรโบราณในประเทศไทยก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 20 พัฒนาการทางการเมืองเศรษฐกิจ สังคมและศิลปกรรมของอาณาจักรสุโขทัยและอาณาจักรอยุธยา |
ความหมาย ขอบเขต และสถานภาพการศึกษาประวัติศาสตร์สังคมไทย โครงสร้างทางสังคมไทยก่อนสมัยรัชกาลที่ 5 ผลกระทบของวิทยาการตะวันตกต่อสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น การปฏิรูปสังคมในสมัยรัชกาลที่ 5 การเคลื่อนไหวของฐานะทางสังคม ประเด็นศึกษาในประวัติศาสตร์สังคมไทย สถาบันกษัตริย์กับสังคมไทย สถาบันสงฆ์ในสังคมไทย ความสำคัญของสถาบันครอบครัวในสังคมไทย สถานภาพและบทบาทของผู้หญิงในสังคมไทย การย้ายถิ่นของแรงงานท้องถิ่น การพนันในสังคมไทย การศึกษาในสังคมไทย วัฒนธรรมความบันเทิงในราชสำนักและสังคมไทย |
ความหมายของวัฒนธรรมและอารยธรรม การปฏิวัติยุคหินใหม่ สภาพแวดล้อมทางนิเวศวิทยากับกำเนิดอารยธรรม การตั้งถิ่นฐานยุคแรกในเมโสโปเตเมีย อียิปต์โบราณ กรีกโบราณ โรมันโบราณ จีนโบราณ อินเดียโบราณ อารยธรรมสมัยกลาง อารยธรรมสมัยใหม่ ปฏิสัมพันธ์และการแลกเปลี่ยนอารยธรรมระหว่างโลกตะวันตกและตะวันออก ยุคอุตสาหกรรมในยุโรป การปรับตัวสู่ความทันสมัยของเอเชีย อารยธรรมในโลกร่วมสมัยและโลกาภิวัตน์ |
เครื่องปั้นดินเผาในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน ภาพสะท้อนประวัติศาสตร์สังคมไทยจากเครื่องปั้นดินเผาในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ในวัฒนธรรมทวารวดี เขมร สุโขทัย ล้านช้าง ล้านนาและอยุธยา |