Course image 2301204-59 รัฐ สังคม และนโยบายสาธารณะ (กลุ่มที่ 3)
2563

ความหมาย แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานของการศึกษารัฐ สังคม และนโยบายสาธารณะ การเปรียบเทียบตัวแบบความสัมพันธ์เชิงนโยบายระหว่างรัฐกับสังคมในห้วงเวลาและระบบการเมืองที่แตกต่างกัน กระบวนการของนโยบายสาธารณะ บทบาทของตัวแสดงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ ผลกระทบต่อนโยบายสาธารณะที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงภาครัฐกับตัวแสดงอื่นๆ แนวโน้มของนโยบายสาธารณะในปัจจุบัน

Course image 2303101-59 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์(กลุ่มที่2)
2563

พัฒนาการและแนวคิดหลักทางรัฐประศาสนศาสตร์ ขอบข่าย แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ลักษณะเฉพาะของภาครัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาอื่น ๆ การเมืองในองค์การ ทฤษฎีองค์การสาธารณะ นโยบายสาธารณะ หลักและเทคนิคการบริหาร กฎหมายมหาชน การคลังสาธารณะ การจัดการภาครัฐ การปฏิรูประบบราชการ และความเป็นวิชาชีพของรัฐประศาสนศาสตร์

Course image 2303320-59 นโยบายการเงินและการคลังสาธารณะ(กลุ่มที่1)
2563

ระบบเศรษฐกิจมหภาคและบทบาทของรัฐบาลในทางเศรษฐกิจ เป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ หลักการและเครื่องมือของนโยบายการเงินและการคลังสาธารณะ ผลกระทบของนโยบายการเงินและการคลังสาธารณะ

Course image 2300107-59 ระบบบริหารราชการแผ่นดิน(กลุ่มที่3)
2563


หลักทั่วไปของกฎหมายและกฎหมายมหาชนที่มีความสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ หลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย กฎหมายรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และองค์กรอิสระ แนวคิดเรื่องการจัดระเบียบบริหารราชการ รวมถึงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในประเทศไทยและประเทศต่างๆ

Course image 2302202-59 ภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ศึกษา
2563


2302202Mainland Southeast Asian Studies
ภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ศึกษา
คณะคณะรัฐศาสตร์
โปรแกรมวิชา-
หน่วยกิต3 (3-0-6)
เงื่อนไขรายวิชา:2302101:59









คำอธิบายรายวิชา
ความสัมพันธ์ด้านการเมือง การค้า ความมั่นคง การอพยพย้ายถิ่น สังคม และวัฒนธรรมของเอเชียอาคเนย์ แนวทางการศึกษาเอเชียอาคเนย์ในมิติประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และเศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ


Course Description
Political, trade, security, migration, social, and cultural relations of mainland Southeast Asia; approaches to mainland Southeast Asian studies, historical, anthropoligcal and international political economy dimensions


Course image 2301101-59 การเมืองและการปกครองของไทย(กลุ่มที่6)
2563

สถาบันและกระบวนการการเมืองไทย ประวัติศาสตร์การเมืองไทย วิเคราะห์การเมืองและพฤติกรรมทางการเมือง บทบาทของสถาบันทางการเมืองไทย สถาบันพระกษัตริย์ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล กองทัพ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง การบริหารราชการ การปกครองท้องถิ่น สิทธิการเข้าถึงการบริการของรัฐ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบาย

Course image 2303321-59 นโยบายสาธารณะ(กลุ่มที่1)
2563

ารวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่นในประเทศไทยและต่างประเทศ แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอำนาจ วิวัฒนาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย บทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบัน การกำหนดนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติระดับท้องถิ่น การติดตามและการประเมินผลนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น บทบาทของภาคประชาสังคมและชุมชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น

Course image 2304202-59 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารท้องถิ่น(กลุ่มที่2)
2563

แนวคิดประชาธิปไตยและการกระจายอำนาจ การบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่น โครงสร้างและหน้าที่ขององค์กรท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร พัทยา การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น ปัญหาในการปกครองท้องถิ่น เครือข่ายการปกครองท้องถิ่น แนวทางการพัฒนาการปกครองท้องถิ่น

Course image 2301310-59 การเมืองมาร์กซิกสต์และนีโอมาร์กซิสต์(กลุ่มที่1)
2563

ความคิดทางการเมืองของคาร์ล มาร์กซ์ ประวัติของลัทธิมาร์กซิสม์ แนวคิดพื้นฐาน แนวคิดทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจการเมืองแบบมาร์กซ์ อิทธิพลของแนวคิดมาร์กซ์ที่ส่งผลต่อการเมืองสมัยใหม่ แนวคิดแบบมาร์กซิสม์และนีโอมาร์กซิสม์

Course image 2303306-59 การบริหารโครงการภาครัฐ (กลุ่มที่1)
2563

แนวคิด วิวัฒนาการและปรัชญาของการบริหารโครงการ ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการจัดการและกระบวนการบริหารโครงการ วงจรชีวิตโครงการ บริบททางกลยุทธ์ของโครงการ การออกแบบองค์การโครงการ หลักการปฏิบัติการในการบริหารโครงการ พลวัตระหว่างบุคคลในการบริหารโครงการ องค์ประกอบทางวัฒนธรรมในการบริหารโครงการ

Course image 2301101-59 การเมืองการปกครองของไทย (กลุ่มที่1)
2563

สถาบันและกระบวนการการเมืองไทย ประวัติศาสตร์การเมืองไทย วิเคราะห์การเมืองและพฤติกรรมทางการเมือง บทบาทของสถาบันทางการเมืองไทย สถาบันพระกษัตริย์ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล กองทัพ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง การบริหารราชการ การปกครองท้องถิ่น สิทธิการเข้าถึงการบริการของรัฐ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบาย

Course image 2300107-59 ระบบบริหารราชการแผ่นดิน (กลุ่มที่2)
2563

หลักทั่วไปของกฎหมายและกฎหมายมหาชนที่มีความสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ หลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย กฎหมายรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และองค์กรอิสระ แนวคิดเรื่องการจัดระเบียบบริหารราชการ รวมถึงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในประเทศไทยและประเทศต่างๆ

Course image 2300107-59 ระบบบริหารราชการแผ่นดิน (กลุ่มที่1)
2563

หลักทั่วไปของกฎหมายและกฎหมายมหาชนที่มีความสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ หลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย กฎหมายรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และองค์กรอิสระ แนวคิดเรื่องการจัดระเบียบบริหารราชการ รวมถึงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในประเทศไทยและประเทศต่างๆ

Course image 2300102-59 การเมืองกับความสัมพันธ์ทางสังคม (กลุ่มที่3)
2563

  

    ความสัมพันธ์ทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางการเมืองของคนหรือกลุ่มคน การกล่อมเกลาทางการเมืองในความสัมพันธ์กับครอบครัวหรือภายในครอบครัว กลุ่มอ้างอิง กลุ่มชาติพันธุ์และศาสนา เครือข่ายทางสังคม ชนชั้นทางสังคม สื่อมวลชน สถานศึกษาและที่ทำงาน กลุ่มและพรรคที่มีลักษณะการเมือง           ผู้ใช้อำนาจการปกครองและเศรษฐกิจ

Course image 2300308-59 โครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของภาคอีสาน(กลุ่มที่3)
2563

แนวคิดภูมิภาคนิยมอีสาน ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสังคมอีสาน การเปลี่ยนแปลงของนโยบายรัฐไทยที่มีผลกระทบต่ออีสานตั้งแต่ยุครวมศูนย์อำนาจรัฐสู่ส่วนกลาง สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม สงครามเย็น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จนถึงปัจจุบัน การเคลื่อนไหวของประชาสังคมกับการพัฒนาประชาธิปไตยของอีสาน

Course image 2302103-59 ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (กลุ่มที่ 1 )
2563

ทฤษฎี แนวความคิด และกรอบการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กลไก กระบวนการ และตัวแสดงต่างๆ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

Course image 2303346-59 การจัดการปกครองภาครัฐสมัยใหม่ (กลุ่มที่1)
2563

ความเป็นมา พัฒนาการ แนวคิดพื้นฐานของการจัดการปกครองภาครัฐสมัยใหม่ ระบบเกณฑ์ความสามารถ และโครงสร้างในการจัดการปกครองภาครัฐ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคมสมัยใหม่ กลไกความรับผิดชอบ เครื่องมือ และเงื่อนไขการจัดการปกครองภาครัฐสมัยใหม่ และกรณีศึกษาระดับภูมิภาค ประเทศ และท้องถิ่น

Course image 2303101-59 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ (กลุ่ม1)
2563

พัฒนาการและแนวคิดหลักทางรัฐประศาสนศาสตร์ ขอบข่าย แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ลักษณะเฉพาะของภาครัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาอื่น ๆ การเมืองในองค์การ ทฤษฎีองค์การสาธารณะ นโยบายสาธารณะ หลักและเทคนิคการบริหาร กฎหมายมหาชน การคลังสาธารณะ การจัดการภาครัฐ การปฏิรูประบบราชการ และความเป็นวิชาชีพของรัฐประศาสนศาสตร์

Course image 2303302-59 จริยธรรมสาธารณะ ( กลุ่มที่ 2)
2563

ความสำคัญของการศึกษาจริยธรรมสาธารณะสำหรับบุคลากรภาครัฐ แนวคิดพื้นฐาน ปรัชญาว่าด้วยจริยธรรมบุคคลของตะวันตกและตะวันออก ตัวแบบในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม กลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และผลประโยชน์ทับซ้อนตามข้อกำหนดขององค์กรระหว่างประเทศและประเทศที่พัฒนาแล้ว ข้อถกเถียงเกี่ยวกับจริยธรรมในศตวรรษที่ 21

Course image 2301326 -59 การเมืองเรื่องสวัสดิการและนโยบายสาธารณะ
2563

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับสวัสดิการและนโยบายสาธารณะ แนวทางการวิเคราะห์นโยบายสวัสดิการ การกำหนดนโยบายสวัสดิการสังคม การเมืองของนโยบายสวัสดิการสังคม เปรียบเทียบระบบสวัสดิการสังคมของยุโรป สหรัฐอเมริกา และไทย ประเด็นสวัสดิการสังคมในภูมิภาคท้องถิ่นอีสาน