|
คำอธิบายรายวิชา แนวคิดและทฤษฎีของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตัวแสดงและโครงสร้างของการเมืองระหว่างประเทศ การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศ กฎหมายและองค์การระหว่างประเทศ เครื่องมือในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศร่วมสมัย |
|
คำอธิบายรายวิชา ทฤษฎี แนวความคิด และกรอบการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กลไก กระบวนการ และตัวแสดงต่างๆ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
แนวคิด วิวัฒนาการและปรัชญาของการประเมินผลโครงการ ความสัมพันธ์ระหว่าง กระบวนการจัดการและกระบวนการบริหารโครงการ วงจรชีวิตโครงการ บริบททางกลยุทธ์ของโครงการ การออกแบบองค์การโครงการ หลักการปฏิบัติการในการบริหารโครงการ พลวัตระหว่างบุคคลในการบริหารโครงการ องค์ประกอบทางวัฒนธรรมในการบริหารโครงการ
The concepts, the evolution and the philosophy of project evaluation, the relations in management process and project management process, project life cycle, strategic contexts of projects, organizational design for project management, the principles of project operations, interpersonal dynamics in the management projects, and cultural elements in project management.
ขอบเขตและมุมมองในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์ องค์การและรัฐประศาสนศาสตร์ หลักการแนวคิดและทฤษฎีในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละขั้นตอน เทคนิคและเครื่องมือในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ รวมถึงปัญหาและอุปสรรคในการบริหารทรัพยากรมนุษย์
|
คำอธิบายรายวิชา แนวคิดและวิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหารการพัฒนา ตัวแบบการพัฒนา การวางแผนและการจัดองค์การในการพัฒนา โครงการพัฒนา บทบาทและคุณสมบัติของนักพัฒนาและปัญหาในการพัฒนา |
พื้นฐานการค้นคว้าหาข้อมูลจากห้องสมุดและแหล่งต่างๆ การอ้างอิง เทคนิคการอ่านและการคิด ในรูปแบบต่างๆ ทักษะการเขียนหลากหลายรูปแบบ การเขียนเชิงถกเถียง การเขียนเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงเปรียบเทียบ การเขียนเชิงพรรณนา และการเขียนเชิงบรรยาย การนำเสนองาน
พัฒนาการของการศึกษาการเมือง ความหมายของการเมืองในรัฐศาสตร์ทั้งแคบและกว้าง รูปแบบของรัฐ ระบอบการปกครอง รัฐธรรมนูญและกฎหมายมหาชนกับสถาบันการปกครอง แนวทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ ระบบการเมือง พฤติกรรมและกระบวนการทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ความขัดแย้งและความรุนแรงทางการเมือง ผลผลิตและสมรรถนะของระบบการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม ขบวนการทางสังคมและประชาสังคม นโยบายสาธารณะกับรัฐประศาสนศาสตร์หรือการจัดการภาครัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ