|
คำอธิบายรายวิชา บทนำสู่เภสัชจลนศาสตร์ กระบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์ การดูดซึม การกระจายตัว เมแทบอลิซึม และการกำจัด ปัจจัยทางชีวภาพและสรีรวิทยาที่มีผลต่อเภสัชจลนศาสตร์ของยา ผลของรูปแบบการให้ยาที่มีต่อเภสัชจลนศาสตร์ของยา ระดับความเข้มข้นของยาในเลือดและการตอบสนองทางการรักษา การขนส่งยา ในร่างกาย อัตราของกระบวนการทางชีวภาพ ลักษณะคอมพาร์ทเมนท์ของยา แบบจำลองชนิดห้องเดียวและชนิดแบ่งเป็นหลายห้อง เภสัชจลนศาสตร์ของการให้ยาซ้ำ เภสัชจลนศาสตร์แบบไม่ใช่เส้นตรง การปรับขนาดยาในผู้ป่วยที่ตับและไตทำงานบกพร่อง ชีวประสิทธิผลและชีวสมมูลของยา การประยุกต์ความรู้ทางจลนศาสตร์ทางคลินิก |
Course Description Introduction to pharmacokinetics; pharmacokinetic processes, absorption, distribution, metabolism and elimination; biological and physiological factors related to pharmacokinetic of drugs; effects of route of administration on pharmacokinetic of drugs; drug concentration in blood and therapeutic responses; drug transport; biological rate processes; drug compartmentalization; one-compartment and multiple compartment models; pharmacokinetics of multiple dosing; non-linear pharmacokinetics; dosage adjustment in patient with hepatic and renal impairment; bioavailability and bioequivalence; clinical applications of pharmacokinetics |
|
คำอธิบายรายวิชา หลักการทางสถิติ สถิติเชิงพรรณนา ความน่าจะเป็นและการแจกแจงความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นของค่าที่ได้จากตัวอย่าง การประมาณค่าทางสถิติ การทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติ การวิเคราะห์ข้อมูลนามบัญญัติ การวิเคราะห์ความแปรปรวน สหสัมพันธ์อย่างง่ายและการถดถอยเชิงเส้น การประยุกต์ใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูป |
|
คำอธิบายรายวิชา บทนำสู่เภสัชกรรมการจ่ายยาและการบริบาลทางเภสัชกรรม หลักการจ่ายยา หลักการการซักประวัติและประเมินผู้ป่วยในร้านยา ทักษะการสื่อสารและให้คำปรึกษาเบื้องต้น ระบบสารสนเทศด้านยาทางคลินิก การเข้าหาผู้ป่วยอย่างเป็นระบบเพื่อการบริบาลทางเภสัชกรรม การแปลผลการตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วย หลักการประสานรายการยา ปัญหาจากการใช้ยา ความคลาดเคลื่อนทางยาและความปลอดภัยด้านยา การบันทึกการบริบาลทางเภสัชกรรม การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา อันตรกิริยาระหว่างกันของยาทางคลินิก การประเมินการใช้ยา หลักการใช้ยาอย่างสมเหตุผล หลักการใช้ยาในประชากรกลุ่มพิเศษ หลักการใช้ยาสัตว์ โภชนาการและอาหารทางการแพทย์ |
Course Description Introduction to dispensing pharmacy and pharmaceutical care; principles of dispensing; principle of history taking and patient evaluation in drug store; basic communication and counseling skills; clinical drug information system; systematic approach to pharmaceutical care; interpretation of physical examination and laboratory data; data gathering from medical records; principle of medication reconciliation; drug-related problem; medication error and medication safety; documentation in pharmaceutical care; adverse drug reaction monitoring; clinical drug interaction; drug use evaluation; principle of rational drug use; principle of drug use in special populations; principle of veterinary drugs; nutrition and medical food |
Uraiwan Akanit
อาจารย์
Tuanthon Boonlue
อาจารย์
Narongchai Chaksupa
อาจารย์
Wannisa Dongtai
อาจารย์
Sirira Dornsamak
อาจารย์
Juthamas Hongthong
อาจารย์
somwang janyakhantikul
อาจารย์
Peerawat Jinatongthai
อาจารย์
Jeerisuda Khumsikiew
อาจารย์
Nonglek Khunwaradisai
อาจารย์
Anyamanee Lapmag
อาจารย์
Teerapong Monmaturapoj
อาจารย์
Rachata Mungkornkaew
อาจารย์
Saksakon Paratsaphan
อาจารย์
Prasittichai Poonphol
อาจารย์
Thanawadee Preeprem
อาจารย์
Mingkamol Rintarhat
อาจารย์
Tipada samseethong
อาจารย์
Phitjira Sanguanboonyaphong
อาจารย์
Phaijit Sritananuwat
อาจารย์
Teeraporn Supapaan
อาจารย์
Suttasinee Suwannakul
อาจารย์
Phanutgorn Techa-angkoon
อาจารย์
Tiwaporn Thongsutt
อาจารย์
Todsapon Warong
อาจารย์
ฐิติเดช ลือตระกูล
อาจารย์
นุตติยา วีระวัธนชัย
อาจารย์
|
คำอธิบายรายวิชา หลักการทางสถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติและมาตรวัด สถิติเชิงพรรณนา ความน่าจะเป็นและการแจกแจงความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นของค่าที่ได้จากตัวอย่าง การประมาณค่า อันตรภาคหรือความ-เชื่อมั่น การเปรียบเทียบข้อมูลตัวอย่างสองกลุ่ม และการทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติ การวิเคราะห์ข้อมูลนามบัญญัติ การเปรียบเทียบข้อมูลตัวอย่างหลายกลุ่ม และ ความถดถอยเชิงเส้นและสหสัมพันธ์อย่างง่าย |
|
คำอธิบายรายวิชา จริยธรรม จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อวิชาชีพและสังคม |
1501401 | |||
Principles of Research in Pharmacy | |||
หลักวิธีวิจัยทางเภสัชศาสตร์ | |||
คณะ | คณะเภสัชศาสตร์ | ||
โปรแกรมวิชา | - | ||
หน่วยกิต | 3(3-0-6) | ||
เงื่อนไขรายวิชา: | 1104141:55 หรือ 1104141:54 หรือ 1104141:0 | ||
รายวิชาต่อเนื่อง: | 1501502 |
ตั้งคำถามงานวิจัยได้อย่างเหมาะสมตั้งสมมติฐานให้สอดคล้องกับคำถามงานวิจัย สืบค้นและทบทวนวรรณกรรมผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิจัยได้อย่างมีระบบและครบถ้วนเลือกใช้รูปแบบและระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสมอธิบายวิธีการสร้างแบบสอบถามและทดสอบคุณสมบัติของแบบสอบถามได้เลือกใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมและคำนวณจำนวนตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยได้อย่างถูกต้องเลือกใช้การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อตอบคำถามงานวิจัยได้ถูกต้อง แปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้องเขียนโครงร่างการวิจัยและรายงานวิจัยได้
|
คำอธิบายรายวิชา หลักการทางจิตวิทยาเบื้องต้น ความสำคัญของจิตวิทยากับการบริบาลทางเภสัชกรรม ทฤษฎีทางพฤติกรรมสุขภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ ปัจจัยส่วนบุคคลต่อการปฎิบัติงาน บุคลิกภาพและพฤติกรรมในการทำงาน จิตวิทยาและทักษะการสื่อสาร การประยุกต์ใช้เทคนิคการสื่อสาร การให้คำปรึกษา การพูดในที่สาธารณะ การสื่อสารภาษาอังกฤษกับผู้ป่วย |
Uraiwan Akanit
อาจารย์
Tuanthon Boonlue
อาจารย์
Wannisa Dongtai
อาจารย์
Sirira Dornsamak
อาจารย์
Peerawat Jinatongthai
อาจารย์
Kamonchanok Jitaree
อาจารย์
Jeerisuda Khumsikiew
อาจารย์
Nonglek Khunwaradisai
อาจารย์
Anyamanee Lapmag
อาจารย์
Teerapong Monmaturapoj
อาจารย์
Rachata Mungkornkaew
อาจารย์
Saksakon Paratsaphan
อาจารย์
Prasittichai Poonphol
อาจารย์
Mingkamol Rintarhat
อาจารย์
Manit Sae-teaw
อาจารย์
Tipada samseethong
อาจารย์
Phitjira Sanguanboonyaphong
อาจารย์
Teeraporn Supapaan
อาจารย์
Suttasinee Suwannakul
อาจารย์
Phanutgorn Techa-angkoon
อาจารย์
Tiwaporn Thongsutt
อาจารย์
มิ่งกมล รินทะราช
อาจารย์
|
คำอธิบายรายวิชา ความเชื่อมโยงในนโยบายของรัฐบาลทางด้านสาธารณสุข การจัดการในโรงพยาบาลทั้งด้านการการบริการเภสัชกรรม การบริหารเวชภัณฑ์ รูปแบบการกระจายยาและเวชภัณฑ์ การให้บริการวิชาการด้านเภสัชกรรม การบริหารงบประมาณ การเงิน บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด การพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล |
|
คำอธิบายรายวิชา บทนำสู่เภสัชจลนศาสตร์ กระบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์ การดูดซึม การกระจายตัว เมแทบอลิซึม และการกำจัด ปัจจัยทางชีวภาพและสรีรวิทยาที่มีผลต่อเภสัชจลนศาสตร์ของยา ผลของรูปแบบการให้ยาที่มีต่อเภสัชจลนศาสตร์ของยา ระดับความเข้มข้นของยาในเลือดและการตอบสนองทางการรักษา การขนส่งยาในร่างกาย อัตราของกระบวนการทางชีวภาพ ลักษณะคอมพาร์ทเมนท์ของยา แบบจำลองทางเภสัชศาสตร์ชนิดห้องเดียวและชนิดแบ่งเป็นหลายห้อง เภสัชจลนศาสตร์ของการให้ยาซ้ำ เภสัชจลนศาสตร์แบบไม่ใช่เส้นตรง การปรับขนาดยาในผู้ป่วยที่ตับและไตทำงานบกพร่อง ชีวประสิทธิผลและชีวสมมูลของยา การประยุกต์ความรู้ทางจลนศาสตร์ทางคลินิก |
|
คำอธิบายรายวิชา หลักการจ่ายยา การแปลผลการตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ระบบสารสนเทศด้านยาทางคลินิก ทักษะการสื่อสารและการให้คำปรึกษา การซักประวัติและประเมินผู้ป่วย การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับยาเทคนิคพิเศษ การปฐมพยาบาล อาหารทางการแพทย์ แนวทางการจ่ายยาในโรคที่พบบ่อย |
Uraiwan Akanit
อาจารย์
Tuanthon Boonlue
อาจารย์
Wannisa Dongtai
อาจารย์
Sirira Dornsamak
อาจารย์
Peerawat Jinatongthai
อาจารย์
Kamonchanok Jitaree
อาจารย์
Jeerisuda Khumsikiew
อาจารย์
Nonglek Khunwaradisai
อาจารย์
Anyamanee Lapmag
อาจารย์
Teerapong Monmaturapoj
อาจารย์
Rachata Mungkornkaew
อาจารย์
Saksakon Paratsaphan
อาจารย์
Prasittichai Poonphol
อาจารย์
Mingkamol Rintarhat
อาจารย์
Manit Sae-teaw
อาจารย์
Tipada samseethong
อาจารย์
Phitjira Sanguanboonyaphong
อาจารย์
Teeraporn Supapaan
อาจารย์
Suttasinee Suwannakul
อาจารย์
Phanutgorn Techa-angkoon
อาจารย์
Tiwaporn Thongsutt
อาจารย์
Todsapon Warong
อาจารย์
จีริสุดา คำสีเขียว
อาจารย์
|
คำอธิบายรายวิชา การจัดตั้งงานบริการเภสัชสนเทศ แหล่งข้อมูลทางยา หน้าที่และบทบาทของเภสัชกรด้านการบริการเภสัชสนเทศ การตอบคำถามทางยาอย่างเป็นระบบ การประเมินวรรณกรรมทางเภสัชศาสตร์ การจัดทำข้อมูลยาเพื่อตอบคำถาม ทักษะการสื่อสารในการให้คำปรึกษาแก่ผู้ใช้บริการ |
Uraiwan Akanit
อาจารย์
Wannisa Dongtai
อาจารย์
Sureewan Duangjit
อาจารย์
Peerawat Jinatongthai
อาจารย์
Kamonchanok Jitaree
อาจารย์
Nonglek Khunwaradisai
อาจารย์
Anyamanee Lapmag
อาจารย์
Nuchajaree Maneejuk
อาจารย์
Suwida Mungklang
อาจารย์
Prasittichai Poonphol
อาจารย์
Manit Sae-teaw
อาจารย์
Tipada samseethong
อาจารย์
Warisada Silaon
อาจารย์
Teeraporn Supapaan
อาจารย์
Suttasinee Suwannakul
อาจารย์
อุษณา พัวเพิ่มพูลศิริ
อาจารย์
|
คำอธิบายรายวิชา ความผิดปกติทางหัวใจหลอดเลือดขั้นสูง ความผิดปกติทางต่อมหมวกไต ความผิดปกติของภาวะเลือดออก ความผิดปกติทางเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ความผิดปกติของทางเดินอาหาร ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ โรคติดเชื้อขั้นสูง การปลูกถ่ายอวัยวะ โภชนค้ำจุน |
Course Description Advanced cardiovascular disorders; adrenal gland disorders; bleeding disorders; connective tissue disorders; gastrointestinal disorders; urologic disorders; advanced infectious diseases; organ transplantation; nutrition support |
Uraiwan Akanit
อาจารย์
Tuanthon Boonlue
อาจารย์
Wannisa Dongtai
อาจารย์
Sirira Dornsamak
อาจารย์
Peerawat Jinatongthai
อาจารย์
Kamonchanok Jitaree
อาจารย์
Jeerisuda Khumsikiew
อาจารย์
Nonglek Khunwaradisai
อาจารย์
Anyamanee Lapmag
อาจารย์
Teerapong Monmaturapoj
อาจารย์
Rachata Mungkornkaew
อาจารย์
Saksakon Paratsaphan
อาจารย์
Prasittichai Poonphol
อาจารย์
Mingkamol Rintarhat
อาจารย์
Manit Sae-teaw
อาจารย์
Tipada samseethong
อาจารย์
Phitjira Sanguanboonyaphong
อาจารย์
Teeraporn Supapaan
อาจารย์
Suttasinee Suwannakul
อาจารย์
Phanutgorn Techa-angkoon
อาจารย์
Tiwaporn Thongsutt
อาจารย์
จีริสุดา คำสีเขียว
อาจารย์
|
คำอธิบายรายวิชา โรคมะเร็ง การจัดการความปวด ความผิดปกติทางจิตเวช ความผิดปกติทางประสาทวิทยาในผู้สูงอายุ การติดตามระดับยาในเลือดทางคลินิก เภสัชบำบัดประยุกต์และการปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย |
Course Description Cancer; pain management; psychiatric disorders; neurological disorders in geriatrics; clinical therapeutic drug monitoring; applied pharmacotherapy and clinical ward round |
Uraiwan Akanit
อาจารย์
Tuanthon Boonlue
อาจารย์
Wannisa Dongtai
อาจารย์
Sirira Dornsamak
อาจารย์
Peerawat Jinatongthai
อาจารย์
Kamonchanok Jitaree
อาจารย์
Nonglek Khunwaradisai
อาจารย์
Anyamanee Lapmag
อาจารย์
Teerapong Monmaturapoj
อาจารย์
Rachata Mungkornkaew
อาจารย์
Saksakon Paratsaphan
อาจารย์
Prasittichai Poonphol
อาจารย์
Manit Sae-teaw
อาจารย์
Tipada samseethong
อาจารย์
Phitjira Sanguanboonyaphong
อาจารย์
Teeraporn Supapaan
อาจารย์
Suttasinee Suwannakul
อาจารย์
Phanutgorn Techa-angkoon
อาจารย์
จีริสุดา คำสีเขียว
อาจารย์
|
คำอธิบายรายวิชา การประยุกต์ความรู้ทางเภสัชจลนศาสตร์คลินิก การติดตามและแปลผลความเข้มข้นของยาในเลือด การคำนวณค่าพารามิเตอร์ทางเภสัชจลนศาสตร์ของยาในผู้ป่วยเฉพาะราย การทำนายความเข้มข้นยาในเลือด การออกแบบและเสนอแนะแบบแผนการให้ยาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย (รายวิชาจากหลักสูตรปรับปรุง 2559 บรรจุลงหลักสูตรปรับปรุง 2555 ผ่านสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 6/2560 วันที่ 29 กรกฎาคม 2560) |
Tuanthon Boonlue
อาจารย์
Wannisa Dongtai
อาจารย์
Peerawat Jinatongthai
อาจารย์
Kamonchanok Jitaree
อาจารย์
Anyamanee Lapmag
อาจารย์
Nuchajaree Maneejuk
อาจารย์
Teerapong Monmaturapoj
อาจารย์
Tipada samseethong
อาจารย์
Teeraporn Supapaan
อาจารย์
Suttasinee Suwannakul
อาจารย์
Phanutgorn Techa-angkoon
อาจารย์
|
คำอธิบายรายวิชา พยาธิสภาพของโรค การวินิจฉัยเบื้องต้น การใช้ยาในการรักษาภาวะความผิดปกติทางจิตเวช การใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวชกลุ่มพิเศษได้แก่ เด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร การใช้ยาให้มีความเหมาะสมกับผู้ป่วยเฉพาะราย การให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วย การติดตามผลการรักษา อาการไม่พึงประสงค์ และอันตรกิริยาระหว่างยา การประยุกต์ใช้หลักการทางเภสัชจลนศาสตร์ในการปรับขนาดยา การติดตามผลของยาจิตเวชกลุ่มที่มีดัชนีการรักษาแคบ (รายวิชาจากหลักสูตรปรับปรุง 2559 บรรจุลงหลักสูตรปรับปรุง 2555 ผ่านสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 6/2560 วันที่ 29 กรกฎาคม 2560) |
|
คำอธิบายรายวิชา บทนำสู่เภสัชบำบัดในผู้ป่วยมะเร็ง กระบวนการพัฒนายารักษาโรคมะเร็ง การประเมินวรรณกรรมเกี่ยวกับยารักษาโรคมะเร็ง เภสัชวิทยาของยาเคมีบำบัด การรักษาอาการและอาการแสดงที่เกิดจากยาเคมีบำบัด การรักษาอาการและอาการแสดงที่เกิดจากโรคมะเร็ง การบำบัดอาการปวด มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง มะเร็งเม็ดเลือดขาวมัยอิโลมา การปลูกถ่ายไขกระดูกพื้นฐาน มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ มะเร็งปอด มะเร็งนรีเวช มะเร็งต่อมลูกหมาก (รายวิชาจากหลักสูตรปรับปรุง 2559 บรรจุลงหลักสูตรปรับปรุง 2555 ผ่านสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 6/2560 วันที่ 29 กรกฎาคม 2560) |
1506530 | |||
Pharmaceutical Care in Patients with Chronic Disease | |||
การบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | |||
คณะ | คณะเภสัชศาสตร์ | ||
โปรแกรมวิชา | - | ||
หน่วยกิต | 3(2-3-4) |
หลักการพื้นฐานของการให้บริบาลทางเภสัชกรรม การซักประวัติผู้ป่วย หลักการวินิจฉัยเบื้องต้น พยาธิสรีรวิทยาของโรค การใช้ยาในการรักษาโรคเรื้อรังที่พบบ่อย เช่น ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน การประยุกต์ใช้เภสัชวิทยา เภสัชบำบัดในการปรับขนาดยา และเลือกใช้ยาให้มีความเหมาะสมกับผู้ป่วยเฉพาะราย หลักการจ่ายยา การให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วย การติดตามผลการรักษา อาการไม่พึงประสงค์จากยา และอันตรกิริยาระหว่างยา
Uraiwan Akanit
อาจารย์
Tuanthon Boonlue
อาจารย์
Wannisa Dongtai
อาจารย์
Sirira Dornsamak
อาจารย์
Peerawat Jinatongthai
อาจารย์
Kamonchanok Jitaree
อาจารย์
Nonglek Khunwaradisai
อาจารย์
Anyamanee Lapmag
อาจารย์
Teerapong Monmaturapoj
อาจารย์
Rachata Mungkornkaew
อาจารย์
Tipada samseethong
อาจารย์
Teeraporn Supapaan
อาจารย์
Suttasinee Suwannakul
อาจารย์
Phanutgorn Techa-angkoon
อาจารย์
|
คำอธิบายรายวิชา ระบาดวิทยาและความสำคัญของโรคที่เกิดจากการใช้ยาและอันตรกิริยาระหว่างยา พยาธิสภาพของโรคที่เกิดจากการใช้ยา ปัจจัยเสี่ยงของโรคที่เกิดจากการใช้ยา การประเมินโรคที่เกิดจากการใช้ยา การป้องกันและจัดการโรคที่เกิดจากการใช้ยาในโรคทางระบบผิวหนัง โรคทางระบบประสาท โรคทางจิตเวช โรคทางระบบทางเดินหายใจ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบต่อมไร้ท่อ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคระบบไต โรคระบบเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ระบาดวิทยาและความสำคัญของอันตรกิริยาระหว่างยา การป้องกันและจัดการอันตรกิริยาระหว่างยา การเขียนรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและโรคที่เกิดจากการใช้ยา ความรู้ปัจจุบันของโรคที่เกิดจากการใช้ยาและอันตรกิริยาระหว่างยา (รายวิชาเปิดใหม่ ผ่านสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 6/2560 วันที่ 29 กรกฎาคม 2560) |
Course Description Epidemiology and importance of drug-induced diseases and drug interactions; pathogenesis of drug-induced diseases; risk factors of drug-induced diseases; assessment of drug-induced diseases; prevention and management of drug-induced dermatologic disorders, drug-induced neurologic disorders, drug-induced psychiatric disorders, drug-induced respiratory disorders, drug-induced cardiovascular disorders, drug-induced endocrine disorders, drug-induced gastrointestinal disorders, drug-induced renal disorders, drug-induced hematologic disorders, drug-induced musculoskeletal disorders; epidemiology and importance of drug-drug interactions; prevention and management of drug-drug interactions; case report writing of adverse drug events and drug-induced diseases; current knowledge of drug-induced diseases and drug-drug interactions |
1506533 | |||
Rational Drug Use and Patient Safety | |||
การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและความปลอดภัยของผู้ป่วย | |||
คณะ | คณะเภสัชศาสตร์ | ||
โปรแกรมวิชา | - | ||
หน่วยกิต | 3(2-3-4) |
คำอธิบายรายวิชา แนวคิดและหลักการของการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แนวปฏิบัติการสั่งจ่ายยาที่ดีเพื่อส่งเสริม การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ทักษะการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในประชากรกลุ่มพิเศษ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง วิกฤติเชื้อดื้อยา กับการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผล จริยศาสตร์กับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล การเข้าถึงยา ความเป็นธรรม และต้นทุนประสิทธิผลเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ความร่วมมือของสหวิชาชีพเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แหล่งข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล การพัฒนาความสามารถอย่างต่อเนื่องเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล การเรียนรู้จากความผิดพลาด เพื่อการป้องกันอันตราย การทำความเข้าใจและการจัดการกับความเสี่ยงทางคลินิก ระบบบริการสุขภาพและบัญชียาหลักแห่งชาติเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล กิจกรรมในการดูแลสุขภาพเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล กรณีศึกษาด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (รายวิชาจากหลักสูตรปรับปรุง 2559 บรรจุลงหลักสูตรปรับปรุง 2555 ผ่านสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 6/2560 วันที่ 29 กรกฎาคม 2560) |