พัฒนาการ ขบวนการ และแนวคิดเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญกับสถาบันการเมือง รูปแบบของรัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมืองในประเทศตะวันตก ปัญหาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองในประเทศกำลังพัฒนา
แนวคิด ทฤษฏีการปกครองท้องถิ่นในระบอบประชาธิปไตย
พัฒนาการของการปกครองท้องถิ่นตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
การปกครองในระดับท้องถิ่นและภูมิภาค กระบวนการทางการปกครองท้องถิ่น
เชิงกฎหมายและสถาบัน ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิ่น
ลักษณะการปกครองท้องถิ่นไทยและปัญหาการปกครองท้องถิ่นไทย
ข้อเสนอการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นไทย
แนวคิดและทฤษฎีของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ตัวแสดงและโครงสร้างของการเมืองระหว่างประเทศ
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศ กฎหมายและองค์การระหว่างประเทศ
เครื่องมือในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศร่วมสมัย
แนวคิดและทฤษฎีของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ตัวแสดงและโครงสร้างของการเมืองระหว่างประเทศ
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศ กฎหมายและองค์การระหว่างประเทศ
เครื่องมือในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศร่วมสมัย
พื้นฐานการค้นคว้าหาข้อมูลจากห้องสมุดและแหล่งต่างๆ การอ้างอิง
เทคนิคการอ่านและการคิด ในรูปแบบต่างๆ ทักษะการเขียนหลากหลายรูปแบบ
การเขียนเชิงถกเถียง การเขียนเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงเปรียบเทียบ
การเขียนเชิงพรรณนา และการเขียนเชิงบรรยาย การนำเสนองาน
ความหมายของความเป็นพลเมือง การส่งเสริมอำนาจของพลเมือง
ความรับผิดชอบต่อสังคม สิทธิมนุษยชน เสรีภาพ ความเท่าเทียมทางสังคม
วัฒนธรรมพลเมืองและประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง
กิจการและการปกครองภาครัฐ สังคมแบบพหุนิยม
การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการเลือกตั้ง พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์
การเมืองภาคประชาชน
หลักการบริหารความหลากหลายในองค์การ ความหลากหลายทางเพศ เชื้อชาติ ศาสนา ผู้ด้อยโอกาส และการบริหารผู้มีความสามารถสูง กลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ท่ามกลางความหลากหลาย การนำความหลากหลายไปใช้ในการบริหารพนักงานในองค์การ การบริหารความหลากหลายของพนักงานในองค์การต่างประเทศ
แนวคิด ความหมายของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงและความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทางเลือกและนโยบายสาธารณะในการจัดการและการบรรเทาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัดการความเสี่ยง ความเปราะบาง และความสามารถในการปรับตัวของเมืองและชนบท ข้อตกลง ความร่วมมือและการเตรียมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน ในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก
ความเป็นมา แนวคิดของการบริหารการคลังและงบประมาณส่วนท้องถิ่น กระบวนการงบประมาณ ความสัมพันธ์ของงบประมาณกับการคลัง นโยบายงบประมาณและการคลังส่วนท้องถิ่น การพัฒนาการคลังท้องถิ่นตลอดจนการกำกับตรวจสอบการบริหารงบประมาณสาธารณะ
แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค เศรษฐศาสตร์มหภาค และเศรษฐศาสตร์การเมือง ในด้านเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภค การผลิต การออม การลงทุนของภาครัฐและเอกชน รายได้ประชาชาติ นโยบายของรัฐด้านเศรษฐกิจ การค้าระหว่างประเทศ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเศรษฐศาสตร์การเมือง ในชีวิตประจำวัน
พื้นฐานการค้นคว้าหาข้อมูลจากห้องสมุดและแหล่งต่างๆ การอ้างอิง เทคนิคการอ่านและการคิด ในรูปแบบต่างๆ ทักษะการเขียนหลากหลายรูปแบบ การเขียนเชิงถกเถียง การเขียนเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงเปรียบเทียบ การเขียนเชิงพรรณนา และการเขียนเชิงบรรยาย การนำเสนองาน
พัฒนาการของการศึกษาการเมือง ความหมายของการเมืองในรัฐศาสตร์ทั้งแคบและกว้าง รูปแบบของรัฐ ระบอบการปกครอง รัฐธรรมนูญและกฎหมายมหาชนกับสถาบันการปกครอง แนวทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ ระบบการเมือง พฤติกรรมและกระบวนการทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ความขัดแย้งและความรุนแรงทางการเมือง ผลผลิตและสมรรถนะของระบบการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม ขบวนการทางสังคมและประชาสังคม นโยบายสาธารณะกับรัฐประศาสนศาสตร์หรือการจัดการภาครัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
วิวัฒนาการการเมืองสหรัฐอเมริกา ความคิดทางการเมืองและอุดมการณ์ทางการเมืองอเมริกัน รัฐธรรมนูญ ระบบสหพันธรัฐและการแบ่งแยกอำนาจ อำนาจบริหารและประธานาธิบดี อำนาจนิติบัญญัติและสภาคองเกรส อำนาจตุลาการและระบบศาล การปกครองระดับมลรัฐและท้องถิ่น สิทธิและเสรีภาพพลเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมือง การเลือกตั้งและพฤติกรรมการลงคะแนนเสียง กลุ่มผลประโยชน์และ พรรคการเมือง ระบบบริหารราชการแผ่นดิน สื่อ
|
คำอธิบายรายวิชา การก่อตั้งอาเซียน โครงสร้างของอาเซียน วิถีอาเซียน การพัฒนากลไกความร่วมมือในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ข้อริเริ่มประชาคมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม การเข้าเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อประเทศไทย |
Course Description Formation of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN), structure of ASEAN; ASEAN Way; development of mechanisms for political, economic, social and cultural cooperation; initiation of ASEAN Community; ASEAN Economic Community; ASEAN Political-Security Community, ASEAN Socio-Cultural Community; integration to ASEAN Community; impacts of ASEAN Community on Thailand |
ปรัชญาการเมืองยุคกรีก ปรัชญาการเมืองยุคกลางระหว่างยุคโบราณกับสมัยใหม่ ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ ลัทธิหลักของปรัชญาและสำนักปรัชญาทางการเมือง
แนวคิดประชาธิปไตยและการกระจายอำนาจ การบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่น โครงสร้างและหน้าที่ขององค์กรท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร พัทยา การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น ปัญหาในการปกครองท้องถิ่น เครือข่ายการปกครองท้องถิ่น แนวทางการพัฒนาการปกครองท้องถิ่น
หลักการให้บริการสาธารณะ การจัดการความหลากหลายของความต้องการสาธารณะ การวางแผนการให้บริการสาธารณะ การออกแบบบริการสาธารณะ การจัดการคุณภาพบริการสาธารณะ นวัตกรรมการให้บริการสาธารณะ บริการสาธารณะเปรียบเทียบ ความท้าทายในการจัดการบริการสาธารณะ
ความเป็นมา พัฒนาการ แนวคิดพื้นฐาน และองค์ประกอบของการจัดการภาครัฐ ข้อจำกัดของการจัดการภาครัฐ ความสัมพันธ์ของการจัดบริการสาธารณะ คุณค่าของรัฐประศาสนศาสตร์และคุณค่าของสังคม รูปแบบและเครื่องมือในการกำหนดคุณค่าร่วมในองค์การสาธารณะ ความขัดกันของคุณค่าระดับบุคคลและองค์การ
แนวคิด ความสำคัญของการวางแผน กระบวนการการวางแผน การวิเคราะห์สถานการณ์ภายใน ภายนอกองค์การ การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ การสร้างทางเลือกกลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสม การประเมินผลการใช้กลยุทธ์ และความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนกับบทบาทของภาครัฐ
แนวคิดเกี่ยวกับองค์การสาธารณะ โครงสร้างองค์การสาธารณะ ประเภทขององค์การสาธารณะในระดับท้องถิ่น วัฒนธรรมองค์การสาธารณะในท้องถิ่น จริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การสาธารณะในท้องถิ่น การจัดการสาธารณะในระดับท้องถิ่น นวัตกรรมการจัดการสาธารณะในท้องถิ่น การพัฒนาองค์การและการจัดการสาธารณะขององค์การในระดับท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21