ความหมาย แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานของการศึกษารัฐ สังคม และนโยบายสาธารณะ การเปรียบเทียบตัวแบบความสัมพันธ์เชิงนโยบายระหว่างรัฐกับสังคมในห้วงเวลาและระบบการเมืองที่แตกต่างกัน กระบวนการของนโยบายสาธารณะ บทบาทของตัวแสดงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ ผลกระทบต่อนโยบายสาธารณะที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงภาครัฐกับตัวแสดงอื่นๆ แนวโน้มของนโยบายสาธารณะในปัจจุบัน
พัฒนาการและแนวคิดหลักทางรัฐประศาสนศาสตร์ ขอบข่าย แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ลักษณะเฉพาะของภาครัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาอื่น ๆ การเมืองในองค์การ ทฤษฎีองค์การสาธารณะ นโยบายสาธารณะ หลักและเทคนิคการบริหาร กฎหมายมหาชน การคลังสาธารณะ การจัดการภาครัฐ การปฏิรูประบบราชการ และความเป็นวิชาชีพของรัฐประศาสนศาสตร์
ระบบเศรษฐกิจมหภาคและบทบาทของรัฐบาลในทางเศรษฐกิจ
เป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
หลักการและเครื่องมือของนโยบายการเงินและการคลังสาธารณะ
ผลกระทบของนโยบายการเงินและการคลังสาธารณะ
หลักทั่วไปของกฎหมายและกฎหมายมหาชนที่มีความสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ หลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย กฎหมายรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และองค์กรอิสระ แนวคิดเรื่องการจัดระเบียบบริหารราชการ รวมถึงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในประเทศไทยและประเทศต่างๆ |
|
คำอธิบายรายวิชา ความสัมพันธ์ด้านการเมือง การค้า ความมั่นคง การอพยพย้ายถิ่น สังคม และวัฒนธรรมของเอเชียอาคเนย์ แนวทางการศึกษาเอเชียอาคเนย์ในมิติประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และเศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ |
Course Description Political, trade, security, migration, social, and cultural relations of mainland Southeast Asia; approaches to mainland Southeast Asian studies, historical, anthropoligcal and international political economy dimensions |
สถาบันและกระบวนการการเมืองไทย ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
วิเคราะห์การเมืองและพฤติกรรมทางการเมือง บทบาทของสถาบันทางการเมืองไทย
สถาบันพระกษัตริย์ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล กองทัพ พรรคการเมือง
การเลือกตั้ง การบริหารราชการ การปกครองท้องถิ่น
สิทธิการเข้าถึงการบริการของรัฐ
และการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบาย
ภูมิหลังและพัฒนาการทางการเมืองการปกครองของสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย การปฎิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในสมัยรัชกาลที่ 5 การเมืองไทยระหว่าง พ.ศ. 2475-2500 การเมืองไทยระหว่างปี พ.ศ. 2501-2516 การเมืองไทยระหว่าง พ.ศ. 2516-2520 การเมืองไทยระหว่าง พ.ศ. 2521-2535 การเมืองไทยยุคหลัง พ.ศ. 2535 สถานภาพและบทบาทของสถาบันทางการเมืองการปกครองของไทย รัฐธรรมนูญ ระบบรัฐสภา สถาบันกษัตริย์ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล กองทัพ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง การบริหารราชการภาครัฐ การปกครองท้องถิ่น การบริการสาธารณะ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของพลเมือง
แนวคิดการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น การบริหารราชการแผ่นดิน พัฒนาการการปกครองท้องถิ่นไทย โครงสร้างและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารการคลังท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแบบทั่วไปและแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา การมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น นวัตกรรมการปกครองท้องถิ่น ปัญหาในการบริหารงานท้องถิ่น แนวทางการพัฒนาการบริหารงานท้องถิ่น
ความคิดทางการเมืองของคาร์ล มาร์กซ์
ประวัติของลัทธิมาร์กซิสม์ แนวคิดพื้นฐาน แนวคิดทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจการเมืองแบบมาร์กซ์
อิทธิพลของแนวคิดมาร์กซ์ที่ส่งผลต่อการเมืองสมัยใหม่
แนวคิดแบบมาร์กซิสม์และนีโอมาร์กซิสม์
แนวคิด วิวัฒนาการและปรัชญาของการบริหารโครงการ
ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการจัดการและกระบวนการบริหารโครงการ
วงจรชีวิตโครงการ บริบททางกลยุทธ์ของโครงการ การออกแบบองค์การโครงการ
หลักการปฏิบัติการในการบริหารโครงการ พลวัตระหว่างบุคคลในการบริหารโครงการ
องค์ประกอบทางวัฒนธรรมในการบริหารโครงการ
สถาบันและกระบวนการการเมืองไทย ประวัติศาสตร์การเมืองไทย วิเคราะห์การเมืองและพฤติกรรมทางการเมือง บทบาทของสถาบันทางการเมืองไทย สถาบันพระกษัตริย์ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล กองทัพ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง การบริหารราชการ การปกครองท้องถิ่น สิทธิการเข้าถึงการบริการของรัฐ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบาย
หลักทั่วไปของกฎหมายและกฎหมายมหาชนที่มีความสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ หลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย กฎหมายรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และองค์กรอิสระ แนวคิดเรื่องการจัดระเบียบบริหารราชการ รวมถึงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในประเทศไทยและประเทศต่างๆ
หลักทั่วไปของกฎหมายและกฎหมายมหาชนที่มีความสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ หลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตย กฎหมายรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และองค์กรอิสระ แนวคิดเรื่องการจัดระเบียบบริหารราชการ รวมถึงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในประเทศไทยและประเทศต่างๆ
ความสัมพันธ์ทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางการเมืองของคนหรือกลุ่มคน
การกล่อมเกลาทางการเมืองในความสัมพันธ์กับครอบครัวหรือภายในครอบครัว กลุ่มอ้างอิง
กลุ่มชาติพันธุ์และศาสนา เครือข่ายทางสังคม ชนชั้นทางสังคม สื่อมวลชน
สถานศึกษาและที่ทำงาน กลุ่มและพรรคที่มีลักษณะการเมือง ผู้ใช้อำนาจการปกครองและเศรษฐกิจ
แนวคิดภูมิภาคนิยมอีสาน ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสังคมอีสาน การเปลี่ยนแปลงของนโยบายรัฐไทยที่มีผลกระทบต่ออีสานตั้งแต่ยุครวมศูนย์อำนาจรัฐสู่ส่วนกลาง สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม สงครามเย็น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จนถึงปัจจุบัน การเคลื่อนไหวของประชาสังคมกับการพัฒนาประชาธิปไตยของอีสาน
ทฤษฎี แนวความคิด และกรอบการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กลไก กระบวนการ และตัวแสดงต่างๆ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความเป็นมา พัฒนาการ แนวคิดพื้นฐานของการจัดการปกครองภาครัฐสมัยใหม่ ระบบเกณฑ์ความสามารถ และโครงสร้างในการจัดการปกครองภาครัฐ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคมสมัยใหม่ กลไกความรับผิดชอบ เครื่องมือ และเงื่อนไขการจัดการปกครองภาครัฐสมัยใหม่ และกรณีศึกษาระดับภูมิภาค ประเทศ และท้องถิ่น
พัฒนาการและแนวคิดหลักทางรัฐประศาสนศาสตร์ ขอบข่าย แนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ลักษณะเฉพาะของภาครัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาอื่น ๆ การเมืองในองค์การ ทฤษฎีองค์การสาธารณะ นโยบายสาธารณะ หลักและเทคนิคการบริหาร กฎหมายมหาชน การคลังสาธารณะ การจัดการภาครัฐ การปฏิรูประบบราชการ และความเป็นวิชาชีพของรัฐประศาสนศาสตร์
ความสำคัญของการศึกษาจริยธรรมสาธารณะสำหรับบุคลากรภาครัฐ แนวคิดพื้นฐาน ปรัชญาว่าด้วยจริยธรรมบุคคลของตะวันตกและตะวันออก ตัวแบบในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม กลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และผลประโยชน์ทับซ้อนตามข้อกำหนดขององค์กรระหว่างประเทศและประเทศที่พัฒนาแล้ว ข้อถกเถียงเกี่ยวกับจริยธรรมในศตวรรษที่ 21
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับสวัสดิการและนโยบายสาธารณะ แนวทางการวิเคราะห์นโยบายสวัสดิการ การกำหนดนโยบายสวัสดิการสังคม การเมืองของนโยบายสวัสดิการสังคม เปรียบเทียบระบบสวัสดิการสังคมของยุโรป สหรัฐอเมริกา และไทย ประเด็นสวัสดิการสังคมในภูมิภาคท้องถิ่นอีสาน